กิจกรรมการเรียนการสอน
- อาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนเข้าร่วมกิจกรรม "โครงการ ส่งเสริมการใช้แก้วน้ำส่วนตัว" ณ.ลานแดง
- อาจารย์พูดถึง"ลายมือ" >> ให้เขียนให้สวยและเรียบร้อย
- อาจารย์นำภาพที่เป็นผังมโนทัศน์ในการนำเสนอข้อมูลคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยมาให้นักศึกษาดู
- เพื่อนกลุ่มที่3 "สอบสอน หน่วย ธรรมชาติ"
Comment จากอาจารย์
การที่จะสอนวันจันทร์ ไม่ควรใชนิทานมาเป็นการสอนวันแรก เพราะนิทานต้องเป็นเรื่องของ
ประโยชน์ของเรื่องนั้นๆ
- ใช้คำถามเชิญชวน "เด็กๆลองสัมผัสดูสิค่ะว่าเด็กๆจับอะไรอยู่"??
ข้อเสนอแนะจากอาจารย์ผู้สอน
1. การเปรียบเทียบต้องเป็นชนิดเดียวกัน แต่ต้องมีจุดเด่นของสิ่งนั้นๆ
2. นำเสนอข้อมูล - วันจันทร์ ลักษณะของผม >> Mapping (ทำสถิติความชอบของเด็ก ผมสั้น,ผมยาว)
- วันอังคาร หน้าที่ของผม >> นิทาน
- วันพุธ ประโยชน์และข้อควรระวัง >> การเปรียบเทียบ
- วันพฤหัสบดี วิธีดูแลรักษา >> แตก Mapping แสดงขั้นตอนของการดูแลรักษา
- วันศุกร์ อาชีพที่เกิดจากผม >> แตก Mapping
แผนการสอนที่ตัวเองได้รับมอบหมาย
- เพื่อนกลุ่มที่3 "สอบสอน หน่วย ธรรมชาติ"
Comment จากอาจารย์
การที่จะสอนวันจันทร์ ไม่ควรใชนิทานมาเป็นการสอนวันแรก เพราะนิทานต้องเป็นเรื่องของ
ประโยชน์ของเรื่องนั้นๆ
- เพื่อนกลุ่มที่ 4 "สอบสอน หน่วย ผม"
วิธีการสอน
วันจันทร์ : ชนิดของผม
- เอามือจับหัว จับไหล่ จับเอว จับหัว - ใช้คำถามเชิญชวน "เด็กๆลองสัมผัสดูสิค่ะว่าเด็กๆจับอะไรอยู่"??
ข้อเสนอแนะจากอาจารย์ผู้สอน
1. การเปรียบเทียบต้องเป็นชนิดเดียวกัน แต่ต้องมีจุดเด่นของสิ่งนั้นๆ
2. นำเสนอข้อมูล - วันจันทร์ ลักษณะของผม >> Mapping (ทำสถิติความชอบของเด็ก ผมสั้น,ผมยาว)
- วันอังคาร หน้าที่ของผม >> นิทาน
- วันพุธ ประโยชน์และข้อควรระวัง >> การเปรียบเทียบ
- วันพฤหัสบดี วิธีดูแลรักษา >> แตก Mapping แสดงขั้นตอนของการดูแลรักษา
- วันศุกร์ อาชีพที่เกิดจากผม >> แตก Mapping
แผนการสอนที่ตัวเองได้รับมอบหมาย
หน่วย........น้ำ วันพฤหัสบดี......เรื่องคุณสมบัติของน้ำ
สื่อที่ใช้ในการสอน
สาระสำคัญ
|
มาตรฐานคณิตศาสตร์
|
บูรณาการ
|
คุณสมบัติของน้ำ
1. เปลี่ยนรูปร่างตามภาชนะ
2. ไหลจากที่สูงลงที่ต่ำ
3. เปลี่ยนสถานะ
- ระเหยกลายเป็นไอ
- ของแข็ง
- ของเหลว
|
สาระที่ 2 การวัด
- ปริมาตร
สาระที่ 3 เรขาคณิต
- รูปทรงเรขาคณิตสองมิติ |
1. ครูทบทวนความรู้ของเมื่อ-วาน "ใช้คำถามในการถามเด็ก"
2. ครูเตรียมอุปกรณ์ที่นำมาสอนเด็กๆ แล้วเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนโดยใช้คำถามว่า "เด็กๆคิดว่ามีอะไรอยู่ในตะกร้าค่ะ" เพื่อให้เด็กรู้จักการคาดคะเน
3. ครูหยิบของออกมาให้เด็กๆเปรียบเทียบลักษณะของแก้วน้ำทั้ง 2 ใบ ใช้คำถามว่า "เด็กๆคิดว่าแก้วทั้งสองใบมีรูปทรงต่างกันอย่างไรค่ะ"
4. ทดลองเทน้ำในใส่แก้วทั้งสองใบ ปริมาณน้ำเท่ากัน "ใช้คำถามว่า เด็กๆคิดว่าน้ำทั้งสองแก้วมีปริมาณเท่ากันหรือไม่ค่ะ" 5. การเปลี่ยนสถานะของ "เด็กๆรู้หรือไม่ค่ะว่าน้ำมีการเปลี่ยนแปลงสถานะได้" อธิบายให้เด็กฟัง 6. สรุป "เป็นการอนุรักษ์" การเปลี่ยนแปลงแต่ยังคงที่ คือรูปร่างเปลี่ยนแต่ปริมาณไม่เปลี่ยน |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น