วันอาทิตย์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2555

การเข้าเรียนครั้งที่6

วันที่ 6 ธันวาคม 2555

กิจกรรมการเรียนการสอน
     - ให้นำกล่องที่เตรียมมา วิเคาะห์เกี่ยวกับขอบข่าย


หลักการรับรู้ของเด็กปฐมวัย

             1. เรียนรู้ผ่านการเล่น    - การเล่นต้องใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 กระทำกับวัตถุ
                                                  - เล่นอย่างอิสระ สามารถตัดสินใจด้วยตัวเอง

             2. ครูจัดประสบการณ์ให้เด็ก    - เด็กจะทำตามแผนที่ครูกำหนดให้
                                                             - ทฤษฎีเพียเจต์ กล่าวว่า เด็กต้องลงมือทำกับวัตถุ


                   การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามลำดับอย่างต่อเนื่อง
                   การจัดกิจกรรม ให้เหมือนกับฝาชี คือ ครอบคลุมให้เด็กได้พัฒนา

กิจกรรมที่สอดคล้องกับขอบข่ายของคณิตศาสตร์
         หน่วย กล่อง
1. ขนาดและรูปทรง
2. นับ
3. กำกับตัวเลข
4. จับคู่ = ขนาดที่เท่ากันโดยใช้เชือก ใช้นิ้ว ในการวัดหาค่า
5. เปรียบเทียบ
6. เรียงลำดับ
7. นำเสนอข้อมูล  = เปรียบเทียบจับคู่ 1:1
         Ex. นำเสนอข้อมูลโดยกราฟ
            อ้างอิง อ.เยาวพา 
สรุป กล่องเล็ก 2 กล่อง  กล่องใหญ่ 3 กล่อง
8. จัดประเภท = กล่องที่กินได้  ต้องใช้เกณฑ์เดียวเท่านั้น
9. พื้นที่ = กล่องนี้บรรจุดินน้ำมันได้กี่ก้อน (ดินน้ำมันต้องขนาดเท่ากัน)
10. การทำตามแบบ = วางกล่องเป็นแบบแล้วให้เด็กทำตามแบบ
11. เศษส่วน = ทั้งหมดทีกี่กล่ิอง นับจำนวน
             Ex. มีทั้งหมด 20 กล่อง
                   กล่องประเภทของกินได้ 8 กล่อง
                   กล่องประเภทไม่ใช่ของกิน 12 กล่อง
                   เพราะฉะนั้นกล่องประเภทของกินได้มี 8 กล่องของทั้งหมด
12. การอนุรักษ์ = การเปลี่ยนแปลงแต่ยังคงที่ คือ รูปทรงเปลี่ยนแต่ปริมาณไม่เปลี่ยน

เพิ่มเติม
    - ถ้ากล่องมี 6 ด้าน ให้เด็กเห็นได้ชัดโดยติดสติกเกอร์
            - ด้านที่ 1 ติด 1 อัน
            - ด้านที่ 2 ติด 2 อัน   ( ทำไปเรื่อยๆจนถึง 6 อัน )
   - กิจกรรมที่ทำได้อย่างอิสระ คือ เล่นตามมุม,ศิลปะ
   - กล่องสี่เหลี่ยมจตุรัสสามารถนำมาทำเป็นลูกเต๋าในการเล่นเกม

ทำกิจกรรมกลุ่มโดยแบ่งเป็น 2 ประเภท
      กลุ่มที่ 1 ให้ประกอบกล่องอย่างอิสระ ไม่ให้ปรึกษากันในกลุ่ม ให้ต่อของใครของมันไปเรื่อยๆ
      กลุ่มที่ 2 ให้ช่วยกันวางแผน สามารถปรึกษากันได้ในกลุ่ม

     กลุ่มของดิฉันได้ทำกิจกรรมแบบที่ 2 ช่วยกันวางแผน

ชื่อกิจกรรม หนอนน้อยเจ้าสำราญ
         สรุปการทำกิจกรรม
               ได้เล่นอย่างอิสระ ได้ช่วยกันออกความคิดเห็น มีความสามัคคี รับฟังความคิดเห็นของเพื่อนๆ

สั่งงานกลุ่ม (โดยทำจากวัสดุเหลือใช้)
   1. กล่องแบร์น
   2. แกนทิชชู (กลุ่มตัวเอง)
   3. ฝาขวดน้ำ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น